การขนส่ง LNG

ทำได้ทั้งทางบกและทางน้ำ ขึ้นอยู่กับจุดหมายปลายทาง แต่ส่วนใหญ่จะขนส่งทางเรือระหว่างประเทศผู้ซื้อกับผู้ขายในระยะทางหลายพันกิโลกเมตรด้วยสถานะของเหลวตลอดการขนส่ง ดังนั้นถังเก็บ LNG ในเรือจึงถูกออกแบบให้กันความร้อนได้ดีและสามารถจัดการกับก๊าซส่วนเกิน หรือ Boil of Gas (BOG) เพื่อรักษาความดันและอุณหภูมิของ LNG ให้คงสถานะของเหลวไว้ โดยเรือขนส่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท

1. Self-supported Tanks มีทั้งชนิดที่เป็น Mass-Spherical และ Prismatic2. Membrane Tanks เป็นเทคโนโลยีที่ถูกพัฒนาต่อจากแบบ Self-supported Tanks ขนส่งปริมาณได้มากกว่า เมื่อเรือ LNG มาถึง LNG Terminal แล้วจะถูกลำเลียงไปเก็บไว้ในถังเก็บที่ถูกออกแบบให้รักษาสถานะของเหลวไว้ได้จนกว่าจะใช้จึงจะนำมาผ่านกระบวนการให้ความร้อนเพื่อเปลี่ยนสถานะให้กลับมาอยู่ในรูปแบบก๊าซแล้วจึงส่งผ่านท่อต่อไป 

Credit : slide วพน.

LNG Terminal

หลังจากที่ขนส่งถึงท่ารับแล้ว LNG ก็จะถูกเก็บไว้ในถังเก็บในสถานะของเหลวจนกว่าจะถึงเวลาใช้จึงนำมาผ่านกระบวนการให้ความร้อนเพื่อเปลี่ยนให้กลับมาอยู่ในสถานะก๊าซ LNG Terminal มีทั้งแบบบนบกและลอยนํ้า หรือที่เรียกว่า Floating Storage and Regasification Unit(FSRU) ซึ่งทำหน้าที่เก็บสำรอง LNG นอกชายฝั่ง และสามารถแปลงสภาพ LNG ให้กลับมาอยู่ในสถานะก๊าซเพื่อส่งเข้าระบบท่อส่งก๊าซฯ ต่อไป โดยปัจจุบัน LNG Terminal ของไทย

Credit : slide วพน.

ประเทศผู้นำเข้า-ส่งออก LNG ในปัจจุบัน

ตลาดและการซื้อขาย LNG

Credit : slide วพน.

การใช้พลังงานความเย็นเหลือทิ้ง จาก LNG

หลังจากที่ขนส่งถึงท่ารับแล้ว LNG ก็จะถูกเก็บไว้ในถังเก็บในสถานะของเหลวจนกว่าจะถึงเวลาใช้จึงนำมาผ่านกระบวนการให้ความร้อนเพื่อเปลี่ยนให้กลับมาอยู่ในสถานะก๊าซ LNG Terminal มีทั้งแบบบนบกและลอยนํ้า หรือที่เรียกว่า Floating Storage and Regasification Unit (FSRU) ซึ่งทำหน้าที่เก็บสำรอง LNG นอกชายฝั่ง และสามารถแปลงสภาพ LNG ให้กลับมาอยู่ในสถานะก๊าซเพื่อส่งเข้าระบบท่อส่งก๊าซฯ ต่อไป

Credit : slide วพน.


จำนวนครั้งที่เข้าชม
2
2
0
1
0
4
1